Home About TBCSD Projects News Event & Activity Reports Links Contact TBCSD
Home > Projects > Benchmarking on Environmental Management Project
Benchmarking on Environmental Management Project (โครงการการทำเบนซ์มาร์กกิ้งเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม) 2001 - Present

Environmental Benchmarking is used as a tool to measure and compare products, services and practices with the best practices of organizations. These best practices can be used to improve business operations and result in the achievement of world class standards. The TBCSD has applied and implemented benchmarking for environmental management focusing on raw materials, water and energy conservation. The project aims to reduce environmental impact and production costs. Six companies were selected from the TBCSD membership in the first year. The results included each company developing an action plan on energy, water and resource use management. In the second year, the project had implemented benchmarking on environmental management systems in which five companies were participating.

Phase 1 (2001)

In close collaboration with the Thailand Productivity Institute, TBCSD organized training for members' representatives in benchmarking in 2001. Member companies work together to develop a questionnaire that will help their businesses to analyze the use of electricity, and water used, as well as the amount of waste produced. Based on analysis of the questionnaire, best practices are determined. The best practice organization then presents their knowledge to the other organizations, and those businesses determine a set of questions to be asked to the best practice organization. A detailed site visit is undertaken in each of the three areas, providing many chances for questions, and the opportunity to learn from each other. Finally, each company summarizes their learning experiences from the visits and is provided with a chance to develop an action plan to implement best practices within their own company.

Several companies indicated they had made significant reductions in energy consumption and costs by simply raising the awareness of employees to the costs or by providing basic training on how to reduce the use of these resources. Other companies closely monitored their electricity and water usage to find areas of over use or waste and made changes accordingly in their practices to save on costs. A coordinator in charge of environment and safety undertook this monitoring. With one employee specifically trained and responsible for continually pin pointing areas of inefficiency, improvements in production, energy and water use, as well as employee safety were constantly able to be made. This improved monitoring allowed for more specific reporting in the budget of environmental costs and Key Performance Indicators. Changes were also made regarding safety within the companies. This would be important to prevent, for example, a fire, which would lead to equipment loss, production down time and clean up costs. In the past two years representatives from eleven companies were trained in with this methodology.

Companies Involved in Benchmarking Project

Phase 1, 2001

Phase 2, 2002

Amway ( Thailand ) Co., Ltd.

Bangchak Petroleum Public Company Limited

Electricity Generating Authority of Thailand (Bangpakong)

Electricity Generating Authority of Thailand (Si Nakarin Dam)

Haad Thip Public Company Limited

Electricity Generating Public Company Limited (Khanom)

PTT Exploration and Production PCL

PTT Public Company Limited (Gas Separation Plant in Khanom)

PTT Public Company Limited

Union Textile Industries Public Company Limited

Thai Farmers bank Public Company Limited

 

( Download Executive Summary )

โครงการการทำเบนซ์มาร์กกิ้งเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเครื่องมือเบนซ์มาร์กกิ้งมาประยุกต์ใช้ในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ทั้งในด้านการอนุรักษ์ไฟฟ้า น้ำ และวัตถุดิบในการผลิต เนื่องจากเบนซ์มาร์กกิ้งเป็นวิธีในการวัดและเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการปฏิบัติกับองค์กรที่สามารถทำได้ดีกว่าหรือที่เป็นเลิศ และนำผลของการเปรียบเทียบมาใช้ปรับปรุงองค์กรของตน เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศในธุรกิจ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังเป็นการลดต้นทุนในการผลิตหรือค่าใช้จ่ายให้กับองค์กรได้อีกด้วย โดยใน Phase I มีองค์กรสมาชิกเข้าร่วมทำโครงการด้วยกันจำนวน 6 บริษัท ได้แก่

  • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
  • บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
  • ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
  • บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
  • บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน)
  • บริษัท แอมเวย์ (ประเทศไทย) จำกัด

ส่วนใน Phase II มีองค์กรสมาชิกเข้าร่วมทำโครงการด้วยกันจำนวน 5 บริษัท และร่วมสังเกตการณ์ 1 บริษัทได้แก่

  • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนศรีนครินทร์
  • บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
  • บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำกัด
  • บริษัท ยูเนี่ยนอุตสาหกรรมสิ่งทอ จำกัด (มหาชน)
  • บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กลุ่มธุรกิจก๊าซ
  • บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) ร่วมสังเกตการณ์

ขั้นตอนการดำเนินงาน

การนำเบนช์มาร์กกิ้งไปใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรสมาชิกนั้น ในตอนเริ่มต้นโครงการได้จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการทำเบนช์มาร์กกิ้งด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ลำดับต่อมาจึงเป็นขั้นตอนในการดำเนินการเบนช์มาร์กกิ้ง ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงาน 4 ขั้นตอนหลัก คือ 1) การวางแผน 2) การเก็บข้อมูล 3) การวิเคราะห์ข้อมูล และ 4) การดำเนินการ โดยแต่ละขั้นตอนหลักมีลำดับขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้

1. ขั้นตอนการวางแผน

  • กำหนดขอบเขตและวิธีการในการดำเนินการ
  • เลือกคณะทำงานและกำหนดผู้ที่จะทำเบนช์มาร์กกิ้ง
  • กำหนดหัวข้อและวิธีการวัดผลการดำเนินงาน

2. ขั้นการเก็บข้อมูล

  • จัดทำแบบสอบถามเพื่อหาผู้ที่มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ
  • เลือกผู้ที่เป็นเลิศ
  • อบรมความรู้ในเรื่องวิธีการทำ Site Visit และกำหนดวันที่จะทำ Site Visit
  • การเยี่ยมชมองค์กรที่มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ

3. ขั้นการวิเคราะห์ผล

  • วิเคราะห์ข้อมูลและหาความแตกต่างของผลการดำเนินงาน
  • สรุปผลการวิเคราะห์

4. ขั้นการดำเนินการ

  • จัดทำแผนการปรับปรุง
  • นำเสนอแผนการปรังปรุงการจัดการสิ่งแวดล้อม
 
Address :16/151, Muang Thong Thani, Bond Street Bangpood Pakkred, Nonthaburi 11120
Telephone : +66 2 503 3333 Facsimile : +66 2 504 4826-8 E-mail : tbcsd@tei.or.th