
หน้าหลัก | โครงการของ NR | การประเมินความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อพัฒนาตัวชี้วัดความหลากหลายทางชีวภาพ และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment-SEA) ในพื้นที่โครงการ SLBT

การประเมินความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อพัฒนาตัวชี้วัดความหลากหลายทางชีวภาพ และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment-SEA) ในพื้นที่โครงการ SLBT
โครงการฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่โครงการ พัฒนาตัวชี้วัดฯ และประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (SEA) เพื่อเสนอทางเลือกในการพัฒนา
โดยได้เข้าไปดำเนินในพื้นที่เป้าหมาย 2 แห่ง ได้แก่ พื้นที่ดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม และพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ :ซึ่งมีความสำคัญทางระบบนิเวศของประเทศ และอยู่ระหว่างการประกาศเป็นพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมโครงการ ดำเนินการตามหลัก Q&A (Quality and Acceptance) ซึ่งให้ความสำคัญต่อคุณภาพข้อมูลและการยอมรับของภาคีในพื้นที่และในจังหวัด ทั้งนี้ มีกิจกรรมสำคัญ ประกอบด้วย
ผลกระทบต่อสังคม::
โดยได้เข้าไปดำเนินในพื้นที่เป้าหมาย 2 แห่ง ได้แก่ พื้นที่ดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม และพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ :ซึ่งมีความสำคัญทางระบบนิเวศของประเทศ และอยู่ระหว่างการประกาศเป็นพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมโครงการ ดำเนินการตามหลัก Q&A (Quality and Acceptance) ซึ่งให้ความสำคัญต่อคุณภาพข้อมูลและการยอมรับของภาคีในพื้นที่และในจังหวัด ทั้งนี้ มีกิจกรรมสำคัญ ประกอบด้วย
- การศึกษาเพื่อวิเคราะห์นโยบายและแรงขับเคลื่อนต่อการพัฒนาพื้นที่ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพจากนโยบายและทิศทางการพัฒนาพื้นที่
- การวางแผนด้วยการคาดการณ์และป้องกันล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล และความคิดเห็นจากภาคี ในการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาในระดับต่างๆ
ผลกระทบต่อสังคม::
- เชื่อมโยงสู่นโยบายและกระบวนการตัดสินใจจากฐานการศึกษาข้อมูลในมิติต่างๆ โดยผ่านกระบวนการประเมินนโยบาย แผนง แผนงาน หรือโครงการขนาดใหญ่
- ผู้บริหารท้องถิ่น บุคลากรท้องถิ่น และผู้นำชุมชน มีความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ สามารถนำผลการศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment-SEA) และตัวชี้วัดความหลากหลายทางชีวภาพ (BHI) มาใช้ประกอบการตัดสินใจในการกำหนดนโยบาย แผนงานและโครงการในการพัฒนาท้องถิ่น
ระยะเวลาดำเนินงาน: | 26/7/2560–19/10/2561 |
ผู้สนับสนุนโครงการ: | สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) สพภ. |
ผู้รับผิดชอบโครงการ: | วิลาวรรณ น้อยภา |
ติดต่อสอบถาม: | 02 503 3333 ต่อ 505 | wilavan@tei.or.th |
กิจกรรมของโครงการนี้
-
การประชุมรับฟังความคิดเห็น : การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ การพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ SLBT เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2561
-
พื้นที่ SLBT : ท่องเที่ยวแบบไหน อย่างไรจะดี...? การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากชุมชนพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าและดอนหอยหลอด เมื่อวันที่ 3 และ 5 ตุลาคม 2561
-
การประชุมผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคิดเห็นต่อ: การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ การพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ SLBT เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2561
-
การประชุมผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคิดเห็นต่อการพัฒนาและประเมินทางเลือก: การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ SLBT (กลุ่ม NR) เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2561
-
การประชุมผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคิดเห็นต่อการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ SLBT กลุ่ม NR เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2561
-
การประชุมผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคิดเห็นต่อการดำเนินงานโครงการฯ วันที่ 18 พฤษภาคม 2561
-
การสำรวจข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ SLBT ดอยหอยหลอด จ.สมุทรสงคราม และ คุ้งบางกะเจ้า จ.สมุทราปราการ
-
เสวนาแลกเปลี่ยนการทำงานและนิทรรศการ 1 ปี SLBT ดอนหอยหลอด อนาคตที่ยั่งยืนของชุมชน
-
การขับเคลื่อนการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น
-
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กับการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
-
ความหลายหลายทางชีวภาพกับวิถีชีวิตคนท้องถิ่น
-
อบต.แหลมใหญ่กับการขับเคลื่อนความหลายหลายทางชีวภาพ
-
Technical Session: Progress on…BHI&SEA Studies ในพื้นที่โครงการ SLBT
-
ประชุมหารือและคืนข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของท้องถิ่นในพื้นที่โครงการ SLBT
-
แลกเปลี่ยนมุมมองและประสบการณ์การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นเพื่อบูรณาการงานอนุรักษ์ฟื้นฟูระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพในกระบวนการพัฒนาแผนท้องถิ่น
-
เสวนาแลกเปลี่ยนเรื่องราว เล่าเรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ดอนหอยหลอด 1 ในกิจกรรมงานเทศกาลกินปลาทูแม่กลอง ครั้งที่ 20
-
ประชุมระดมความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและกรอบ BHI ที่เหมาะสม ในพื้นที่โครงการ SLBT