เกี่ยวกับเรา

About Green Label

The Thai Green Label Scheme was initiated by the Thailand Business Council for Sustainable Development (TBCSD) in October 1993. It was formally launched in August 1994 by Thailand Environment Institute (TEI), Ministry of Industry, Ministry of Natural Resources and Environment, Thai Industrial Standards Institute (TISI) and other relevant agencies to act out concretely. Therefore, it is considered an environmental label of Thailand arising from cooperation between government agencies and various central organizations. The Thai Industrial Standards Institute and the Thai Environment Institute act as secretaries.

Green label is established as an independent agency providing information about environmentally friendly products and services that is neutral, reliable, as well as taking care of environmental quality control by promoting awareness and preventing pollution that may occur throughout the life cycle in a systematic and transparent manner. Because green products that are available in the market today only promoted by independent manufacturers and distributors.

 

Concept

  1. Green label certifies a product which has been assessed and verified that it meets environmental standards in accordance with the product criteria announced by the Green Label Policy and Management Committee.

  2. Green label certification is a voluntary based which manufacturer, distributor or service provider who want to show responsibility for the environment.

  3. Green label is a tool to build good environmental awareness among consumers by introducing products that have less environmental impact and encourage more consumption of that products.

  4. Green label encourage manufacturer industry groups turn to clean technology production that have less environmental impact.

  5. Green label encourages the government and the private sector work together to restore and preserve the environment including reduce pollution problems by changing consumption behaviors.

Purpose

The main purpose of the Green label comes from the concept and the need for Thailand sustainable development by adhering to the principles of national economic development in parallel with environmental protection as follows:

  1. Reduce overall environmental pollution in the country.

  2. Provide unbiased information for consumers about products and services that have less environmental impact compared to products or services that perform the same function.

  3. Encourage manufacturers to use clean production technology or methods, low impact on the environment in order to deliver economic returns to the manufacturers in the long term.

โครงสร้างคณะกรรมการและคณะทำงานฉลากเขียว

   
ผู้จัดการโครงการ

ผู้แทนฝ่ายบริหาร
จัดการคุณภาพ
   
 
 
กลุ่มงานพัฒนา
ข้อกำหนด
 
กลุ่มงานรับรอง

 
กลุ่มงานการจัดการ
 
             

คณะกรรมการโครงการฉลากเขียว

ได้รับการแต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้

  • กำกับทิศทางและนโยบายการทำงานฉลากเขียวและฉลากสิ่งแวดล้อม
  • อนุมัติให้ใช้หรือแสดงฉลากเขียว และฉลากสิ่งแวดล้อมแก่ผลิตภัณฑ์หรือกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ได้คัดเลือก
  • พิจารณากำหนดแบบฉลากเขียวและฉลากสิ่งแวดล้อม หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการแสดงฉลากเขียวและฉลากสิ่งแวดล้อม
  • แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการฉลากเขียวหรือคณะผู้เชี่ยวชาญ

 

คณะกรรมการบริหารโครงการฉลากเขียว

ได้รับการแต่งตั้งโดยผู้อำนวยการสถาบันฯ มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้

  • กำหนดนโยบาย แผนงาน กลยุทธ์ในการดำเนินงาน
  • ติดตามความก้าวหน้าในการบริหารจัดการ โครงการฉลากเขียว
  • พิจารณาความเหมาะสมในการจัดหาทรัพยากร รองรับ สนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ
  • เสริมสร้างความร่วมมือในระดับบริหารกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมโครงการ ให้สามารถตอบสนองต่อเป้าประสงค์ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และหลักการของฉลากเขียว
  • พิจารณาคัดเลือกกลุ่มผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อพัฒนาข้อกำหนดฉลากเขียว
  • พิจารณากำหนด อนุมัติใช้ แก้ไข และยกเลิก ข้อกำหนดฉลากเขียว รวมทั้ง
  • ให้คำปรึกษา ชี้แนะ ตลอดจนตัดสินใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดและอายุข้อกำหนด
  • อนุญาตให้ใช้เครื่องหมายฉลากเขียว รวมถึงการพักใช้ เพิกถอน กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองฉลากเขียว
  • กำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับความเป็นกลางในกิจกรรมการรับรอง โดยมุ่งเน้นความโปร่งใสเพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นต่อสาธารณชนในกระบวนการรับรอง
  • พิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเทคนิคในการพัฒนาข้อกำหนด คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการรับรองฉลากเขียวในการอนุมัติให้ใช้เครื่องหมายฉลากเขียวและคณะอนุกรรมการอื่นๆ

 

คณะอนุกรรมการเทคนิค

ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริหารโครงการฉลากเขียว มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้

  • จัดทำร่างข้อกำหนดสำหรับผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทที่ผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการบริหารโครงการฉลากเขียว
  • กำหนดเกณฑ์วิธีทดสอบ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ด้านคุณภาพและสิ่งแวดล้อม พร้อมทางจัดทำรายงาน สรุปความสำคัญ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่น้อยลง
  • ประเมินปริมาณการซื้อขายและรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์นั้นในตลาด
  • ดำเนินงานด้านวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

สำนักงานเลขานุการโครงการฉลากเขียว

ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริหารโครงการฉลากเขียว มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้

คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการรับรองฉลากเขียว

ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริหารโครงการฉลากเขียว มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้

  • ตัดสินให้การรับรองเครื่องหมายฉลากเขียวครั้งแรก คงไว้ ลด/เพิ่มขอบข่าย พักใช้ เพิกถอน และยกเลิกการรับรอง และการพิจารณาการต่ออายุการรับรอง
  • ทบทวนความถูกต้องของผลการตรวจประเมินสถานประกอบการ และผลการตรวจเฝ้าระวังการรับรองฉลากเขียว
  • พิจารณาผลกระทบต่อความเป็นกลางต่อกิจกรรมการตรวจสอบในสาขาที่เกี่ยวข้อง

 

International Cooperation

Green Label is an environmental label type 1 in accordance with ISO 14024, started to certify environmentally friendly products since 1994. It has been developed in cooperation with other countries' environmental labeling agencies continually. Green Label has joined GENICES accredited member of Global Ecolabelling Network (GEN). This is the organization for environmental labeling type 1 consists of members from more than 50 countries around the world which have a common objective in carrying out cooperation activities, transferring knowledge and developing criteria for environmentally friendly products that are Common Core Criterial (CCC). In order to create cooperation among GEN members, members may sign a Memorandum of Understanding (MOU) together for joining organizational operations and accepting laboratory standards and the test results of the same product.

Currently, the international cooperation including


1. Signing a Memorandum of Understanding (MOU) to

1) Accept the application for other environmental label certification and 2) Conduct an on-site assessment of an establishment of countries with cooperation. At present, Green Label has signed a MOU with the environmental label certification agencies type I (GEN member) such as Taiwan, South Korea, New Zealand, Japan, Australia, P.R. China, Philippines, Hong Kong, Malaysia, German and India.


2. Developing the criteria for environmentally friendly products that are Common Core Criterial (CCC).

Green Label has developed specification criteria for use as reference criteria for product certification in order to have environmentally friendly products and services on the market which some products are imported or exported to different countries. Therefore, the Green Label has developed criteria for environmentally friendly products that can be shared between countries.

   

1. Printers and Copiers criteria signed in 2021
2. Copiers criterial signed in 2016
3. Digital projectors signed in 2017